ทางสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคการศึกษาทางด้านยานยนต์ไฟฟ้าได้จัดทำต้นแบบรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า เพื่อเป็นแนวทางในการดัดแปลงเป็นรถตุ๊กตุ๊กเครื่องยนต์ให้เป็นรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า รวมไปถึงแผนธุรกิจที่สามารถต่อยอดไปเชิงพาณิชย์และการสร้างอาชีพ รวมทั้งการฝึกอบรมให้กับผู้ที่สนใจ ตลอดจนสามารถแสดงสาธิตพาหนะไฟฟ้าที่ผลิตในประเทศไทยอีกด้วย ประเภทเอกสาร : บทความของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle)
Category: ACTICLE
มาตรฐานและความปลอดภัยทางไฟฟ้าของยานยนต์ไฟฟ้า
การทำงานของยานยนต์ไฟฟ้าได้มีการเปลี่ยนแปลงจากรถยนต์สันดาปภายในคือมีการนำมอเตอร์ไฟฟ้ามาใช้ในการขับเคลื่อนแทนเครื่องยนต์สันดาปภายในทำให้มีการนำอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลังมาใช้งานเช่นอินอินเวอร์เตอร์ ดีซีเรคติไฟเออร์ ดีซีเรกูเลเตอร์ ระบบกักเก็บพลังงาน เป็นต้น โดยความต่างศักย์ที่ใช้งานในยานยนต์ไฟฟ้าจะแบ่งเป็น 1.ระบบไฟฟ้าแรงดันสูงสำหรับจ่ายให้ต้นกำลังในระบบขับเคลื่อน 2. ระบบไฟฟ้าแรงดันต่ำสำหรับระบบแสงสว่าง ประเภทเอกสาร : บทความของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle)
เทคโนโลยีแบตเตอรี่สำหรับยานยนต์ไฟฟ้า
ในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกให้ความสำคัญกับการลดการใช้พลังงานและการปลดปล่อยมลพิษในภาคขนส่งเพิ่มมากขึ้น โดยหนึ่งในมาตราการสำคัญคือการสนับสนุนให้มีการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าอย่างแพร่หลาย ดังจะเห็นได้จากนโยบายห้ามจำหน่ายยานยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ที่ประเทศต่าง ๆ เช่น ประเทศนอร์เวย์ ประเทศเนเธอแลนด์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศเยอรนี สหราชอาณาจักรฯลฯ จะบังคับใช้ในอนาคตอันใกล้ สำหรับประเทศไทย ภาครัฐได้กำหนดนโยบายสนับสนุนอย่างชัดเจนและตั้งเป้าว่าจะส่งเสริมให้มีการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าที่อัดประจุไฟฟ้าได้ ประเภทเอกสาร : บทความของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle)
เทคโนโลยีมอเตอร์สำหรับยานยนต์ไฟฟ้า
จากรายงาน Global EV Outlook 2017 (1) พบว่าทิศทางของการใช้ ยานยนต์ไฟฟ้าทั่วโลก มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในกลุ่มประเทศจีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศมรทวีปยุโรป เช่นนอร์เวย์ เยอรมัน เนเธอแลนด์ อังกฤษ ฝรั่งเศศ เป็นต้น เมื่อนับจากอดีตจนถึงสิ้นปี ค.ศ.2016 ทั่วโลกมีจำนวนยอดขายยานยนต์ไฟฟ้าสะสมจำนวนมากกว่า 2 ล้านคัน ประเภทเอกสาร : บทความของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle)
องค์ประกอบหลักของยานยนต์ไฟฟ้า
ประเภทเอกสาร : บทความของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle)
เทคโนโลยีเครือข่ายเฉพาะกิจสำหรับยานยนต์ (Vehicular Ad-Hoc Network Technology)
เทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างรถยนต์กำลังเป็นสิ่งที่น่าจับตามอง เพราะการสื่อสารสามารถสร้างการทำงานแบบทีมให้กับรถยนต์ได้ รถยนต์สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันช่วยกันประมวลผล ช่วยกันตัดสินใจ เพื่อให้เกิดระบบขนส่งแห่งโลกอนาคตที่มีความเป็นอัฉริยะ สามารถแก้ปัญหาการจราจรได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความปลอดภัยให้ดียิ่งขึ้น ในบทความนี้ผู้เขียนขอนำเสนอระบบเครือข่ายเฉพาะกิจสำหรับยานพาหนะ (Vehicular Ad-Hoc Network : Vanet) ซึ่งเป็นระบบสื่อสารหนึ่งที่ถูกออกแบบมาตราฐานมาเพื่อใช้สื่อสารในสภาพแวดล้อมการจราจรโดยเฉพาะ ประเภทของเอกสาร : บทความของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle)
สถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้า ความปลอดภัย และการใช้งาน (Charging Station, Safety and Usage)
ปัจจุบันยานยนต์ไฟฟ้าเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายมากขึ้นในประเทศไทยยานยนต์ไฟฟ้าครอบคลุมถึงทุกชนิดที่ใช้พลังงานไฟฟ้าในการขับเคลื่อนไม่ว่าจะเป็น รถจักรยานยนต์ไฟฟ้ารถสามล้อไฟฟ้ารถยนต์ไฟฟ้ารถบัสไฟฟ้าและรถบรรทุกไฟฟ้าในแง่มุมของยานยนต์ไฟฟ้านั้นมีการพูดถึงการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีด้านยานยนต์เป็นส่วนใหญ่ไม่ว่าจะเป็นเครื่องเทคโนโลยีที่ใช้ในยานยนต์ไฟฟ้าการออกแบบของยานยนต์ที่เปลี่ยนไปชนิดและขนาดของแบตเตอรี่ความเร็วและระยะทางที่ทำได้มีเพียงส่วนน้อยที่พูดถึงระบบอัดประจุไฟฟ้าซึ่งเป็นอุปกรณ์สำคัญในการให้พลังงานยานยนต์ไฟฟ้าที่มี ผลต่อประสิทธิภาพของยานยนต์ไฟฟ้ารวมทั้งเกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ของผู้ใช้เครื่องอัดประจุไฟฟ้าหรือสถานีอัดประจุไฟฟ้าสาธารณะในบทความนี้ผู้เขียนจะให้ข้อมูลสำหรับเครื่องอัดประจุไฟฟ้าและความปลอดภัยในการใช้งานสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าเป็นหลัก ประเภทเอกสาร : บทความของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle)
การจดทะเบียนรถยนต์สามล้อไฟฟ้า
รถยนต์สามล้อไฟฟ้ามีการแบ่งประเภทเหมือนกับรถยนต์สามล้อทั่วไป โดยประกอบไปด้วย รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล รย.4 เป็นรถยนต์สามล้อนั่งส่วนบุคคลและรถยนต์สามล้อบรรทุกส่วนบุคคล และรถยนต์รับจ้างสามล้อ รย.8 ซึ่งมีคุณลักษณะที่สำคัญ ดังนี้ ประเภทเอกสาร : บทความของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle)
การจดทะเบียนยานยนต์ไฟฟ้าทั่วไป
การจดทะเบียนรถเป็นการขออนุญาตใช้รถต่อนายทะเบียนโดนรถต้องมีสภาพมั่นคง แข็งแรง มีลักษณะ ขนาด และเครื่องอุปกรณ์ ส่วนควบของรถ ถูกต้องตามที่กฏกระทรวงตามพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. 2522 กำหนดและต้องมีกำลังมอเตอร์ไฟฟ้าและความเร็วตามที่กฏหมายกำหนด และผ่านการตรวจสภาพรถจากนายทะเบียน หรือจากสถานตรวจสภาพที่ได้รับอนุญาตตามกฏหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ซึ่งขั้นตอนการจดทะเบียนรถยนต์ไฟฟ้าสำหรับรถใหม่นั้นมีขั้นตอนเช่นเดียวกันกับรถยนต์ทั่วไปเพียงแต่มีเอกสารเพิ่มเติมบางส่วน ประเภทเอกสาร : บทความของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle)